วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การแปล และการเป็นล่าม

มีคำถามที่ตั้งกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ถึงแม้ว่ากิจกรรมการแปลจะเกิดขึ้นมาโดยตลอด ก็มักจะมีคำถามมาตลอดเช่นกัน ส่วนใหญ่จะมีการแยกการแปลออกเป็น 2 ประเภท

- อย่างหนึ่งคือ การเป็นนักแปลงานเขียน เช่น งานเขียนด้านวรรณกรรมหรือวิชาการ
- อีกอย่างหนึ่งคือ การเป็นล่าม ส่วนใหญ่จะใช้กับทางด้านธุรกิจ พ่อค้า การติดต่อสื่อสาร โดยที่เขาว่าการเป็นล่าม ถึงแม้ว่าบางทีจะเป็นการแปลเอกสารที่เขียน แต่ก็ถือว่ามันเป็นแปล ซึ่งเป็นการล่าม

ในขณะที่งานวิชาการหรือว่างานวรรณกรรม ที่เป็นลายลักษณ์อักษรถึงจะเป็นนักแปล ต่างประเทศเขาจะใช้คำ ๒ คำ ภาษาอังกฤษใช้ translator กับ interpreter เขาจะถือว่า ทั้ง ๒ อย่างนี้เป็นงานที่แยกกัน อย่างเช่น งานที่เป็นแปลเป็นล่าม เป็นคนวิชาการที่พูด ต้องถือว่าเป็นการแปลไม่ใช่เป็นล่าม เพราะเป็นการแปลในเชิงความคิด แทนที่จะเขียนแต่ใช้วิธีพูด ถือว่าเป็นงาน 2 ระดับ แต่ถ้าคนที่แปลเพียงแค่ติดต่อการค้าหรือทั่วๆ ไป เป็นไกด์ เป็นอะไร ถือว่าเป็นล่าม

แต่คนไทยส่วนใหญ่ คำ 2 คำนี่เราจะใช้นักแปลโดยใช้กับหนังสือ ล่ามใช้กับการพูดมากกว่า แต่ว่าวิธีแยกก็มีอย่างที่บอกก็คือ จะดูว่าเป็นงานระดับไหน บางครั้งการพูดเป็นล่าม อาจจะถือเป็นการแปลได้

ติดต่อสอบถามเรื่องการแปลเอกสารต่าง ๆ ได้ที่: Linguist Center (Answer All Your Language Problems)

รับแปลเอกสาร, แปลเอกสาร, แปล, แปลไทยเป็นอังกฤษ, แปลอังกฤษเป็นไทย, โปรแกรมแปลเอกสาร, แปลเอกสารด่วน, แปลเอกสาร, ราคางานแปลเอกสาร, แปลเอกสาร, แปลภาษา, แปลไทย, แปลเอกสารราชการ, แปลเอกสารวีซ่า, แปลไทย-อังกฤษ, แปลเอกสารภาษาอังกฤษ, แปลไทย-อังกฤษ, แปลอังกฤษ-ไทย, แปลเอกสารราคาถูก, แปลเอกสารมืออาชีพ, ศูนย์แปลภาษา, ศูนย์แปลเอกสาร, ศูนย์รับแปลเอกสาร, แปลเอกสาร, รับแปลเอกสาร, แปล, แปลไทยเป็นอังกฤษ, แปลอังกฤษเป็นไทย, โปรแกรมแปลเอกสาร, แปลเอกสารด่วน, แปลเอกสาร, ราคางานแปลเอกสาร, แปลเอกสาร, แปลภาษา, แปลไทย, แปลเอกสารราชการ, แปลเอกสารวีซ่า, แปลไทย-อังกฤษ, แปลเอกสารภาษาอังกฤษ, แปลไทย-อังกฤษ, แปลอังกฤษ-ไทย, แปลเอกสารราคาถูก, แปลเอกสารมืออาชีพ, ศูนย์แปลภาษา, ศูนย์แปลเอกสาร, ศูนย์รับแปลเอกสาร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น